Vajiranyanasamvara
Somdet Phra Sangharajachao Krom Luang Vajiranyanasamvara
Dhamma (Foreign Languange)
A Memorial Discourse
Seventh day rites for Josephine Clark King Stanton by Somdej Phra Nuanasamvara, at the Consecrated Assembly Hall (Uposatha) of Wat Bovoranives Vihara, on Thursday 1st October 2524 (1981) at 18.30 pm.
A View of Thailand Through Buddhism
In Thailand, the practice in Buddhism is voluntary and free. Anybody who wishes to be ordained, to go to Wat to listen to Dhamma preaching, or to perform any virtuous deeds and make merits, can satisfy his desire. Such an opportunity is rarely found in other countries at present, therefore. we all should greatly appreciate it. We should not be irrational and indiscreet about it. That is, we should not be immersed in this state.
Buddhist Psychology
This book consists of twenty-two rather short but tremendously enlightening articles written by His Holiness Somdej Phra Nyanasamvara who was the 19th Supreme Patriarch of Thailand. These articles were published in Thai in a weekly newspaper in the Buddhist Era 2511 - 2512 (1968 - 1969), twenty years before he became the Supreme Patriarch and while still holding the title of Phra Sasanasobhorn. Many articles of this nature by His Holiness appeared in the newspaper continuously for eleven years and have been collectively published in four volumes.
Contemplation of the Body
A series of 19 talks were given on the first of the Four Arousings of Mindfulness as given in the Mahasatipatthanasutta : the Great Discourse on the Arousing of Mindfulness
by Somdet Phra Nyanasamvara
Faith in Buddhism
Faith in Buddhism is a work of His Holiness Somdet Phra Nyanasamvara, which explains on Buddhism clearly for beginners, and also gives sufficient guidance for further study and practice of Buddhism. This book has been published in the Thai language many times.
Dhamma Writing
Forty-Five Years of the Buddha (Book 1)
WFourty-Five years of the Buddha" was decided upon Thenceforward began the research for the instructions given to newly ordained Bhikkhus in the Convocation Hall of Bovorn Nives Monastery B'E' 2504. The instructions were tape-recorded, to be later published serially in the Sri Sappada periodical. The series was started there from October 2504 to February 4, 2509, in which the contents continued to the ninth Rains Retreat period. It was some time later that the serial was published in the Dhammacakkhu periodical of the Mahamakut Foundation, to which the copyright was given for its publication.
Dhamma Writing
More Precious than Money or Gold
This "More Precious than Money or Glod: The Buddhist Path to Happiness" is an extract taken from Mind Exercises for Adult in English, especially from the part that points out what is really valuable for people to follow in their daily lives, according to the principal doctrine and the purposes of Buddhism. Its subject matter is not very difficult nor very easy and not too long nor too short but contains the gists and sufficient details that can enable the readers to understand the main aim of Buddhism in this point.
Phra Dhamma Devathiraj (The Dhamma Protecting Deity)
In selecting this sermon, it will serve as a means of bringing about harmony among our people, especially in the unity of mind and action which will together work towards the well-being.
Sermon
เกิดมาทำไม และเบญจคาถา
"เราเกิดมาทำไม" ปัญหานี้ถ้าตั้งขึ้นคิดก็น่าจะจนเพราะขณะเมื่อทุกคนเกิดนั้นไม่มีใครรู้ มารู้เมื่อเกืดและพอรู้เดียงสาแล้ว มีตัวเราขึ้นคนหนึ่งในโลก แต่ทุก ๆ คนย่อมมีความไม่อยากตาย กลัวความตาย แยากจะดำรงชีวิตอยู่นานเท่านาน นอกจากนี้ยังมีความอยากในสิ่งต่าง ๆ อีกมากมาย คล้ายกับว่าความที่เกิดมานี้ไม่อยู่ในอำนาจของตนเอง มีอำนาจอย่างหนึ่งทำให้เกิดมา ตนเองจึงไม่มีอำนาจ หรือไม่มีส่วนที่จะตั้งวัตถุประสงค์แห่งความเกิดของตนว่า เกิดมาเพื่อทำสิ่งนั้นสิ่งนี้หรือเพื่อเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ .......
พระนิพนธ์
คติธรรมศราทธพรตเทศนาและฆราวาสธรรม
พระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้านั้นดังก้องโลกมานับเป็นเวลาเกือบสามพันปีมาแล้ว แต่ไม่ใช่ทุกคนในโลกที่ได้รับความสุขโดยตรงจากพระธรรมนี้ เพราะไม่ใช่ทุกคนที่รู้จักพระธรรมนี้และมีความเพียรปฏิบัติตาม ความสุขไม่เกิดก็เพราะไม่ปฏิบัติ เปรียบดังมียาแก้ไขอยู่มากมายในบ้านในเรือน ผู้เป็นไข้ไม่นำยานั้นมารับประทาน ก็จะหายไข้ไม่ได้ แม้ว่ายาแก้ไข้นั้นจะเป็นยาที่ดีมีสรรพคุณในการแก้ไข้อย่างได้ผลจริง ความสำคัญของยาแก้ไข้จึงหาได้อยู่เพียงที่เป็นยาดีมีสรรพคุณจริงเท่านั้นไม่ แต่ต้องอยู่ที่ผู้เป็นไข้ต้องรับประทานยานั้นด้วย ผลจึงจะปรากฏเป็นความหายจากไข้ได้ .......
พระนิพนธ์
ความเข้าใจเรื่องกรรม
จากหนังสือชุด ความเข้าใจเรื่องชีวิต ....
ชีวิตทุกคนเกี่ยวข้องกับกรรม ทั้งที่เป็นกรรมเก่า ทั้งที่เป็นกรรมใหม่ จะกล่าวว่าชีวิตเป็นผลของกรรมก็ได้ คำว่ากรรมเก่ากรรมใหม่นี้ อธิบายได้หลายระยะ เช่น ระยะไกล กรรมที่ทำแล้วในอดีตชาติ เรียกว่ากรรมเก่า กรรมที่ทำแล้วในปัจจุบันชาติ เรียกว่ากรรมใหม่ อธิบายอย่างนี้อาจไกลมากไป จนคนที่ไม่เชื่ออดีตชาติเกิดความคลางแคลงไม่เชื่อ จึงเปลี่ยนมาอธิบายระยะใกล้ว่าในปัจจุบันชาตินี้แหละ กรรมที่ทำไปแล้วตั้งแต่เกิดมาเป็นกรรมเก่า ส่วนกรรมที่เพิ่งจะทำเสร็จลงไปใหม่ ๆ เป็นกรรมใหม่ แม้กรรมที่จะเข้าใจหรือที่จะทำก็เป็นกรรมใหม่ เพราะฉะนั้น การที่จะเข้าใจเรื่องชีวิตได้ดี จำต้องทำความเข้าใจเรื่องกรรมให้ดีด้วย
พระนิพนธ์
ความเข้าใจเรื่องกรรม
ชุดที่พิมพ์เนื่องในงานพระศพเพื่อแจกเป็นปฏิการแก่สาธุชนผู้มาถวายความเคารพพระศพสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร
กรรมคืออะไร จําต้องทําความเข้าใจให้ลึกซึ้งเข้าไปอีก พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ แปลความว่า “เรากล่าวเจตนา (ความจงใจ) ว่าเป็นกรรม เพราะ คนจงใจ คนจงใจ คือมีใจมุ่งแล้ว จึงทําทางกายบ้าง ทางวาจาบ้าง ทางใจบ้าง” ฉะน้ัน กรรมคือกิจที่บุคคลจงใจทําหรือทําด้วยเจตนา ถ้าทําด้วยไม่มีเจตนาไม่เรียกว่ากรรม อย่างเช่นไม่มีเจตนาเหยียบมดตาย ไม่เป็นกรรมคือปาณาติบาต ต่อเมื่อเจตนาจะเหยียบให้ตาย จึงเป็นกรรมคือปาณาติบาต แต่เมื่อจัดอย่างละเอียด สิ่งที่ทําด้วยไม่มีเจตนา ท่านจัดเป็นกรรมชนิด หนึ่ง เรียกว่ากรรมสักว่าทํา เพราะอาจให้โทษได้เหมือนกัน เหมือนอย่างท่ีกฎหมายถือว่าผิดในฐานะประมาท
พระนิพนธ์
ความเข้าใจเรื่องจิต
จากหนังสือชุด ความเข้าใจเรื่องชีวิต
ความรู้เรื่อง จิต ทางพระพุทธศาสนา เป็นเรื่องควรศึกษาให้รู้ เพราะการปฏิบัติธรรมของพระพุทธเจ้า ย่อมเนื่องด้วยจิตเป็นข้อสำคัญ พระพุทธวจนะที่สั่งสอนเกี่ยวกับจิตเป็นส่วนใหญ่ จึงจะได้กล่าวถึงเรื่องจิต จากคำสอน ในพระพุทธศาสนาไปโดยลำดับ
พระนิพนธ์
ความเข้าใจเรื่องชีวิต
สรุปความในตอนนี้ว่า เรื่องตายเกิดหรือไม่เกิด ใครจะเชื่ออย่างไรไม่สำคัญ ข้อสำคัญที่ว่าความจริงเป็นอย่างไร ตายแล้วเกิดอีกหรือไม่เกิด ปัญหาจึงมีว่า ใครจะเป็นผู้บอกได้ จะรู้จริงได้อย่างไร ตอบได้ว่า ผู้บอกมีอยู่แล้ว คือ พระพุทธเจ้า ท่านตอบไว้ในหลักอริยสัจจ์สี่ ถอดความมาสั้น ๆ ว่า มีตัณหา (ความอยาก) ก็มีชาติ (ความเกิด) สิ้นตัณหาก็สิ้นชาติ ถอดคำออกมาให้เข้าเรื่องนี้ว่า ยังมีตัณหาตายแล้วเกิดอีก สิ้นตัณหาแล้วไม่เกิด ท่านบอกไว้ดังนี้ แต่จะรู้จริงด้วยตนเองได้นั้น มีผู้แนะว่าต้องทำสมาธิจนได้ดวงตาชั้นใน มองเห็นความจริงได้ด้วยตนเอง จึงจะสิ้นสงสัย ถ้ายังไม่ได้ดวงตาชั้นใน อย่างดีก็ต้องอาศัยศรัทธาต่อพระพุทธเจ้าไปก่อน
พระนิพนธ์
ความเข้าใจเรื่องชีวิต
สรุปความในตอนนี้ว่า เรื่องตายเกิดหรือไม่เกิด ใครจะเชื่ออย่างไรไม่สำคัญ ข้อสำคัญที่ว่าความจริงเป็นอย่างไร ตายแล้วเกิดอีกหรือไม่เกิด ปัญหาจึงมีว่า ใครจะเป็นผู้บอกได้ จะรู้จริงได้อย่างไร ตอบได้ว่า ผู้บอกมีอยู่แล้ว คือ พระพุทธเจ้า ท่านตอบไว้ในหลักอริยสัจจ์สี่ ถอดความมาสั้น ๆ ว่า มีตัณหา (ความอยาก) ก็มีชาติ (ความเกิด) สิ้นตัณหาก็สิ้นชาติ ถอดคำออกมาให้เข้าเรื่องนี้ว่า ยังมีตัณหาตายแล้วเกิดอีก สิ้นตัณหาแล้วไม่เกิด ท่านบอกไว้ดังนี้ แต่จะรู้จริงด้วยตนเองได้นั้น มีผู้แนะว่าต้องทำสมาธิจนได้ดวงตาชั้นใน มองเห็นความจริงได้ด้วยตนเอง จึงจะสิ้นสงสัย ถ้ายังไม่ได้ดวงตาชั้นใน อย่างดีก็ต้องอาศัยศรัทธาต่อพระพุทธเจ้าไปก่อน
พระนิพนธ์
ความเข้าใจเรื่องชีวิต (2557)
สรุปความในตอนนี้ว่า เรื่องตายเกิดหรือไม่เกิด ใครจะเชื่ออย่างไรไม่สำคัญ ข้อสำคัญที่ว่าความจริงเป็นอย่างไร ตายแล้วเกิดอีกหรือไม่เกิด ปัญหาจึงมีว่า ใครจะเป็นผู้บอกได้ จะรู้จริงได้อย่างไร ตอบได้ว่า ผู้บอกมีอยู่แล้ว คือ พระพุทธเจ้า ท่านตอบไว้ในหลักอริยสัจจ์สี่ ถอดความมาสั้น ๆ ว่า มีตัณหา (ความอยาก) ก็มีชาติ (ความเกิด) สิ้นตัณหาก็สิ้นชาติ ถอดคำออกมาให้เข้าเรื่องนี้ว่า ยังมีตัณหาตายแล้วเกิดอีก สิ้นตัณหาแล้วไม่เกิด ท่านบอกไว้ดังนี้ แต่จะรู้จริงด้วยตนเองได้นั้น มีผู้แนะว่าต้องทำสมาธิจนได้ดวงตาชั้นใน มองเห็นความจริงได้ด้วยตนเอง จึงจะสิ้นสงสัย ถ้ายังไม่ได้ดวงตาชั้นใน อย่างดีก็ต้องอาศัยศรัทธาต่อพระพุทธเจ้าไปก่อน